............................................................................................................
•แท่งเนเปียร์
(Napier's Bone) คิดค้นโดย เนเปียร์ เป็นเครื่องมือที่ทำด้วยแท่งจากกระดูกสัตว์ตีเส้นเป็นตารางคำนวณหลาย
ๆ แท่ง เอาไว้ใช้สำหรับคำนวณ แต่ละแท่งจะมีตัวเลขเขียนกำกับไว้
เมื่อต้องการผลลัพธ์ก็หยิบแท่งที่ใช้ระบุตัวเลขแต่ละหลักมาอ่านกับแท่งดรรชนี (index)
ที่มีตัวเลข
0-9 จะได้คำตอบ
............................................................................................................
•ไม้บรรทัดคำนวณ
(Slide
Rule) คิดค้นโดย วิลเลี่ยม ออทเตรด
โดยนำอัลกอริทึมของเนเปียร์มาเขียนเป็นสเกลบนแท่งไม้
เพื่อใช้ในการคำนวณ
•เครื่องคำนวณของปาสคาล
(Pascal's
Pascaline
Calculator)
คิดค้นโดยเบลส
ปาสคาล ถือว่าเป็นเครื่องคำนวณใช้เฟืองเครื่องแรก
............................................................................................................
•เครื่องคำนวณของไลปนิซ
(The Leibniz Wheel) คิดค้นโดย กอตต์ฟรีด
วิลเฮล์ม ไลบ์นิช (Gottfried Wilhelm Leibniz)
ได้ทำการปรับปรุงเครื่องคำนวณของปาสคาลให้มีประสิทธิภาพดีกว่าเดิม
โดยมีการปรับฟันเฟืองใหม่ ให้มีความสามารถคูณและหารได้
(แต่เดิมทำได้เฉพาะการบวกและลบเลขเท่านั้น)
............................................................................................................
•เครื่องผลต่างของแบบเบจ
(Babbage's Difference Engine)
คิดค้นโดย
ชาร์ลส แบบเบจ (Charles
Babbage) เป็นเครื่องคำนวณที่มีฟันเฟืองจำนวนมาก
และสามารถคำนวณค่าของตารางได้อัตโนมัติ แล้วส่งผลลัพธ์ไปตอกลงบนแป้นพิมพ์
•เครื่องวิเคราะห์ของแบบเบจ
(Babbage's
Analytical Engine)
ต่อมาได้พัฒนาเครื่องวิเคราะห์
ซึ่งจะประกอบด้วย
• หน่วยความจำ ซึ่งก็คือ
ฟันเฟือง
•
หน่วยคำนวณ
ที่สามารถบวกลบคูณหารได้
•
บัตรปฏิบัติ
คล้าย
ๆ บัตรเจาะรู้ใช้เป็นตัวเลือกว่าจะคำนวณอะไร
•
บัตรตัวแปร
ใช้เลือกว่าจะใช้ข้อมูลจากหน่วยความจำใด
•
ส่วนแสดงผล คือ เครื่องพิมพ์ หรือเครื่องเจาะบัตร
•บุคคลที่นำแนวคิดของแบบเบจมาสร้างเครื่อง
ก็คือลูกชายของแบบเบจ ชื่อ เฮนรี่ (Henry)
ในปี
1910
...........................
จากการคำนวณด้วยเครื่องวิเคราะห์นี้มีลักษณะใกล้เคียงกับส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
จึงทำให้ ชาร์ลส
แบบเบจ (Charles
Babbage) ได้รับการยกย่องว่าเป็น
“บิดาแห่งคอมพิวเตอร์”
............................................................................................................
•ABC
เครื่องคำนวณขนาดเล็กที่ใช้หลอดสูญญากาศถือว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบดิจิตอลเครื่องแรก
............................................................................................................
•Mark
I เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ของไอบีเอ็ม
............................................................................................................
•ENIAC เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก คิดค้นโดย
ดร.
จอห์น
ดับบลิว มอชลี่ (John
W. Mauchly)และจอห์น
เพรสเปอร์ เอ็คเคิร์ท (Jonh Presper
Eckert)
ยุคของคอมพิวเตอร์
•ยุคที่
1
(ยุคหลอดสูญญากาศ) ใช้เทคโนโลยีหลอดสูญญากาศ
(Vacuum tube technology) ในยุคนี้เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1951 – 1958 “ตัวเครื่องใหญ่
ใช้กำลังไฟสูง •เกิดความร้อนสูง”
............................................................................................................
•ยุคที่
2
(ยุคทรานซิสเตอร์) เทคโนโลยีทรานซิสเตอร์ (Transistors
technology)
-
มีขนาดเล็กกว่าหลอดสูญญากาศ
-
มีความจำที่สูงกว่า
-
ไม่เสียเวลาในการวอร์มอัพ
-
ใช้พลังงานต่ำ
............................................................................................................
•ยุคที่
3
(ยุควงจรรวม) มีการพัฒนาเป็นแผงวงจรรวม (Integrated
Circuits : IC)
เป็นวงจรไมโครอิเล็กทรอนิกส์
มีขนาดเล็กและบาง น่าเชื่อถือมากกว่าความเร็วสูงขึ้น และทำให้ขนาดของคอมพิวเตอร์เล็กลง
............................................................................................................
•ยุคที่
4
(ยุควีแอลเอสไอ) เป็นยุคของวงจร (Large-Scale
Integration: LSI)
เป็นวงจรรวมประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลายพันวงจรไว้บนแผงซิลิกอนซึ่งเป็นชิปขนาดเล็ก
และถูกนำมาใช้เป็นชิปหน่วยความจำ
............................................................................................................
•ยุคที่
5
(ยุคเครือข่าย)
- การพัฒนาวงจรวีแอลเอสไอ
มีความต่อเนื่องและรวดเร็ว
-
สามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ลงบนแผ่นซิลิคอนขนาดเล็ก
-
คอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
- ยุคนี้จะมีความพยายามในการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กับงานหลายประเภท
............................................................................................................
............................................................................................................
............................................................................................................
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น